ReadyPlanet.com
dot dot
dot
หน้าหลัก
dot
bulletหน้าหลัก
dot
E-magazine สารพันเรื่องราวน้ำมันหล่อลื่น
dot
bulletชุดที่ 1 ฉบับที่ 1-10
bulletชุดที่ 2 ฉบับที่ 11-20
bulletชุดที่ 3 ฉบับที่ 21-30
bulletชุดที่ 4 ฉบับที่ 31-39
dot
รายการสินค้า น้ำมันหล่อลื่นและจารบี ยี่ห้อต่างๆ
dot
bulletสินค้า เชลล์ Shell
bulletสินค้า เชลล์ Shell Consumer สำหรับรถยนต์
bulletสินค้า โมบิล ExxonMobil
bulletสินค้า ปตท. PTT
bulletสินค้า ฟู้ดเกรด Food Grade ฟุคส์ Fuchs (เยอรมัน)
bulletสินค้า ฟุคส์ Fuchs
bulletสินค้า จารบี เทรน Trane
bulletสินค้า จารบี SKF
bulletสินค้า น้ำมันตัดกลึงโลหะ (เชลล์ เดิม) ฮาวท์ตัน Houghton MWF
bulletสินค้า โอมาก้า OMEGA และ อื่นๆ
dot
คู่มือ...เลือกใช้ผลิตภัณฑ์น้ำมันหล่อลื่นและจารบี
dot
bulletผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี เชลล์ Shell
bulletผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี ปตท. PTT สำหรับอุตสาหกรรม
bulletผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี ปตท. PTT สำหรับยานยนต์
bulletผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี โมบิล ExxonMobil
bulletผลิตภัณฑ์ จารบี SKF
bulletผลิตภัณฑ์ จารบี เทรน Trane
bulletผลิตภัณฑ์ โอเมก้า Omega
dot
มุมเทคนิค
dot
bulletรอบรู้เรื่องน้ำมันเครื่อง
bulletน้ำมันไฮดรอลิค
bulletความรู้เรื่อง จาระบีของ SKF
bullet40 พฤติกรรมช่วยประหยัดน้ำมัน
bulletปัจจัยกำหนดราคาน้ำมัน ในตลาดโลก
bulletการถ่ายน้ำมันเกียร์อัตโนมัติ
bulletน้ำมันเกียร์อุตสาหกรรม
bulletจาระบี (Grease)
bulletเรื่องของเกรดน้ำมันเครื่อง
bulletทำไมจึงเจาะจงน้ำมันเครื่องสูตรสังเคราะห์
bulletน้ำมันหล่อเย็น (Cutting Fluid)
bulletผลิตภัณฑ์หล่อลื่น กับ สิ่งแวดล้อม
bulletน้ำมันเกียร์
bulletการเสื่อมสภาพของน้ำมันหล่อลื่น
bulletไบโอดีเซล B 100 ทางเลือกใหม่ของคนไทย
bulletน้ำมันดิบ และ การกลั่น
bulletการสำรวจและขุดเจาะ
bulletการขจัดน้ำมันหล่อลื่นที่หมดอายุใช้งาน
bulletข้อควรปฏิบัติในการป้องกัน เครื่องจักรกล ไม่ให้เกิดการเสียหาย
bulletการพิจารณาเปลี่ยนน้ำมันใหม่
bulletตรวจสอบน้ำมันเทอร์ไบน์ขณะใช้งาน
bulletการเตรียมเครื่องเทอร์ไบน์
bulletน้ำมันหล่อลื่น เครื่องเทอร์ไบน์ไอน้ำ
bulletลักษณะการเย็นตัว ของ เหล็กชุบแข็ง ใน ของเหลว
bulletประเภทของงานในการชุบเหล็กด้วยน้ำมัน
bulletน้ำมันชุบเหล็ก
bulletการออกแบบระบบอุปกรณ์ถ่ายเทความร้อนและการใช้งาน
bulletจุดเดือด น้ำมันเบรค มีความสำคัญต่อประสิทธิภาพการ เบรค อย่างไร?
bulletความสำคัญ ของ ระยะเวลา เปลี่ยนถ่าย น้ำมันเครื่อง
bulletคอมเพรสเซอร์
bulletคุณสมบัติของ น้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์
bulletเครื่องยนต์ดีเซล
bulletเกียร์ (Gears)
bulletน้ำมันเครื่องสังเคราะห์สายพันธุ์ใหม่ เทคโนโลยียูเบส
bulletหน้าที่และคุณสมบัติของน้ำมันหม้อแปลงไฟฟ้า และสวิทช์เกียร์
bulletการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลอย่างสม่ำเสมอในขณะใช้งาน
bulletแรงเสียดทาน คืออะไร
bulletการหล่อลื่นเครื่องมือที่ขับเคลื่อนโดยกำลังดันลม
bulletอุปกรณ์ต่างๆในระบบเครื่องทำความเย็น
bulletการผสมตัวระหว่างน้ำมันหล่อลื่นกับน้ำยา
bulletจุดวาบไฟ (Flash Point) น้ำ (Water) สิ่งสกปรกที่เป็นของแข็ง (Sediment)
bulletการสึกหรอ (Wear)
bulletการวัดค่าความเป็นกรด (Total Acid Number - TAN)ในน้ำมันหล่อลื่นที่ใช้แล้ว
bulletแบริ่ง (Bearings)
bulletมาตรฐานน้ำมันเบรค
bulletน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์
bulletมาทำความรู้จัก กับ พลังงานน้ำมัน...พลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
bulletPTT Lubricants รุกคืบธุรกิจเรือเดินสมุทร




คอมเพรสเซอร์

คอมเพรสเซอร์

 

                        คอมเพรสเซอร์เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเพิ่มความดันให้กับก๊าซหรือส่วนผสมของก๊าซ เช่น อากาศ แล้วสามารถส่งผ่านก๊าซหรืออากาศที่ถูกอัดนี้ไปยังสถานที่ที่จะใช้งาน เช่น เครื่องมือที่ขับด้วยกำลังลม เครื่องมือฉีดพ่นของเหลว เครื่องสูบลม หรือเครื่องอัดจารบี การอัดก๊าซเพื่อให้สามารถเก็บในถังเก็บก๊าซได้เป็นปริมาณมากไม่ว่าจะอยู่ในรูปของก๊าซหรือของเหลว เครื่องคอมเพรสเซอร์ขนาดใหญ่ถูกใช้ในการอัดและส่งก๊าซธรรมชาติ ใช้ในโรงงานเหล็กและเคมีภัณฑ์ เป็นต้น

                 เมื่อก๊าซถูกอัด อุณหภูมิจะสูงขึ้นเป็นสัดส่วนกับแรงอัด ดังนั้นการอัดก๊าซความดันสูงอุณหภูมิของก๊าซจะสูงมาก เครื่องคอมเพรสเซอร์อัดก๊าซบางชนิดจึงถูกออกแบบให้สามารถอัดก๊าซได้หลายขั้นตอน และในแต่ละขั้นตอนก๊าซที่ถูกอัดจะถูกช่วยระบายความร้อนออกไป คอมเพรสเซอร์สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ

                 1.แบบลูกสูบ (Reciprocating)

                 2.แบบโรตารี่ (Rotary Positive Displacement)

                 3.แบบใช้แรงเหวี่ยงและไหลตามแกน (Centrifugal & Axial Flow)

               

คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ

                 ใช้วิธีการอัดก๊าซโดยการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาของตัวลูกสูบในกระบอกสูบ มีน้ำแบบอัดก๊าซด้านเดียว (Single-Acting) และอัดก๊าซได้สองด้าน (Double-Acting) นอกจากนี้ยังแบ่งเป็นแบบลูกสูบเดี่ยวหรือลูกสูบหลายลูก จัดเรียงลำดับเป็นแนวเดียวกัน หรือเป็นแบบรูปตัววีหรือดับเบิ้ลยู เป็นต้น

                 

คอมเพรสเซอร์แบบโรตารี่

                  ก๊าซจะถูกดูดเข้ามาในระบบแล้วจึงถูกอัดผ่านใบพัดหรือสกรูก่อนที่จะถูกส่งออกไปใช้งาน คอมเพรสเซอร์แบบนี้ยังสามารถแบ่งออกได้เป็นแบบใบพัดเลขแปด (Straight Lobe), แบบสกรู (Screw) และแบบแผ่นเลื่อน (Sliding Vane)

                 

คอมเพรสเซอร์แบบใช้แรงเหวี่ยงและไหลตามแกน

                  ใช้วิธีการเพิ่มพลังงานจลน์กับก๊าซในรูปของความเร็ว แล้วเปลี่ยนพลังงานจลน์ไปเป็นพลังงานศักย์ที่ทางออกในรูปของความร้อน

 

การหล่อลื่นในเครื่อง คอมเพรสเซอร์  

           วิธีการหล่อลื่นในเครื่อง คอมเพรสเซอร์ แตกต่างกันไปแล้วแต่ชนิดหรือลักษณะการออกแบบของ คอมเพรสเซอร์ นั้น

การหล่อลื่นใน คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบ

           แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ การหล่อลื่น ในกระบอกสูบและในอ่าง น้ำมัน ซึ่งโดยทั่วไปคุณสมบัติของ น้ำมัน ที่จะใช้ใกล้เคียงกัน เว้นเสียแต่ว่า น้ำมันหล่อลื่น ที่ใช้ในกระบอกสูบจะต้องไม่ทำปฏิกิริยากับก๊าซที่จะอัด

           คุณสมบัติที่สำคัญของ น้ำมัน ที่ใช้กับ เครื่องคอมเพรสเชอร์แบบลูกสูบ นั้นจะต้องมีโอกาสเกิดเขม่าต่ำเพราะการรวมตัวของเขม่าไปเกาะอยู่ตามระบบทางจ่ายอากาศหรือก๊าซที่ถูกอัด จะเป็นสาเหตุทำให้เกิดไฟลุกไหม้หรือ คอมเพรสเซอร์ ระเบิดได้ ดังนั้น น้ำมันหล่อลื่น คอมเพรสเซอร์แบบลูกสูบมักทำด้วย น้ำมันพื้นฐาน ที่ได้รับการคัดเลือกอย่างดีผสมด้วยสารเพิ่มคุณภาพ ป้องกันปฏิกิริยาอ็อคชิเดชั่น ป้องกันการสึกหรอและการกัดกร่อน เป็นต้น

 

การหล่อลื่นในคอมเพรสเซอร์แบบโรตารี่

           มีวิธีการหล่อลื่นได้ 2 แบบ คื่อ 1. การหล่อลื่นแบบน้ำมันหยด( Drip Feed  Lubricated)  วิธีนี้ น้ำมันหล่อลื่น จำนวนที่เหมาะสมจะถูกฉีดหรือหยดลงไปหล่อลื่นตามชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ เช่น บริเวณแผ่นเลื่อน นอกจากนี้ยังทำหน้าที่เป็นชีลช่องว่างระหว่างแผ่นเลื่อน กับผนังภายในห้องอัด หลังจากหล่อลื่นแล้ว น้ำมัน จะถูกขับออกไปพร้อมกับ ก๊าซหรืออากาศที่ถูกอัด  2.การหล่อลื่นแบบน้ำมันท่วม (Flood Lubricated)  น้ำมันหล่อลื่น จำนวนหนึ่งจะถูกฉีกเข้าไปในห้องอัดเพื่อทำหน้าที่ หล่อลื่น และเป็นซีลระหว่างชิ้นส่วนที่เคลื่อนที่ นอกจากนี้ยังช่วยระบายความร้อนของก๊าซหรืออากาศ่ที่ถูกอัด น้ำมัน ดังกล่าวจะถูกแยกออกจากก๊าซที่ปลายทางท่อ ทำให้เย็นลงผ่านไส้กรองแล้วถูกหมุนเวียนกลับไปใช้อีก

          น้ำมัน สำหรับใช้ในการหล่อลื่นที่มีสภาวะการทำงานที่รุนแรงแบบนี้จำเป็นต้องใส่สารเพิ่มคุณภาพป้องกันปฏิกิริยาอ๊อคซิเดชั่น ทั้งนี้เพราะ น้ำมัน ต้องสัมผัสกับอากาศหรือก๊าซที่ร้อนจัดอย่ตลอดเวลาถ้าหาก น้ำมัน มีความคงทนต่อปฏิกิริยาดังกล่าวไม่ดี น้ำมัน จะเปลี่ยนสภาพเป็นกรดและเกิดตะกอนยางเหนียวทำให้เกิดการกัดกร่อน ส่วนตะกอนยางเหนียวจะไปอุดต้นตามทางเดินของ น้ำมัน ทำให้แผ่นเลื่อนตายหรือติดขัด ความหนืดที่เพิ่มขึ้นจะทำให้การระบายความร้อนไม่ดี

          นอกจากนี้คุณสมบัติในการป้องกันการสึกหรอการกัดกร่อน ตลอดจน น้ำมัน สามารถแยกตัวออกจากน้ำได้ดีก็เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะ คอมเพรสเชอร์ ที่มีการอัดหลายขั้นตอนและมีระบบระบายความร้อน ความชื้นในอากาศที่ถูกอัดอาจกลั่นตัวเป็นหยดน้ำผสมลงใน น้ำมันหล่อลื่น ได้

 

การหล่อลื่นในคอมเพรสเซอร์แบบใช้แรงเหวี่ยงหรือไหลตามแกน

           การหล่อลื่นในคอมเพรสเซอร์ทั้ง 2 แบบนี้ซึ่งส่วนใหญ่ประกอบด้วย แบริ่งกาบ ตัว น้ำม้นหล่อลื่น ไม่ได้สัมผัสกับอากาศหรือก๊าซที่ถูกอัด และมักใช้วิธี การหล่อลื่น และฉีดหมุนเวียน ดังนั้นคุณสมบัติของ น้ำมัน ที่ต้องการจึงไม่ค่อยรุนแรงมากนัก

 

 

Download

 

 

 

 

Siam Global Lubricant Co.,Ltd.

13,15 ซอยเจริญกรุง 3 ถนนเจริญกรุง แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์ : 0-2622-1700-3 โทรสาร : 0-2622-1704

E-mail : sales@sgl1.com  facebook : https://www.facebook.com/SiamGlobalLubricant

เวลาทำการ : วันจันทร์-เสาร์ 8.30-17.30น.หยุดวันอาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์

นอกเวลาทำการ : ติดต่อสายด่วน 089-6612991

 

 

 






Copyright © 2010 All Rights Reserved.
 

บริษัท เอส.จี.แอล.มาร์เก็ตติ้ง จำกัด

105/400-401 หมู่4 ถ.ราชพฤกษ์ ตำบลบางกร่าง อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

โทร. 098-9192463 , 089-6612991 โทรสาร. 02-4032564

E-mail address : sgl1.sales@gmail.com

Line ID : SGL1