ReadyPlanet.com
dot dot
dot
หน้าหลัก
dot
bulletหน้าหลัก
dot
E-magazine สารพันเรื่องราวน้ำมันหล่อลื่น
dot
bulletชุดที่ 1 ฉบับที่ 1-10
bulletชุดที่ 2 ฉบับที่ 11-20
bulletชุดที่ 3 ฉบับที่ 21-30
bulletชุดที่ 4 ฉบับที่ 31-39
dot
รายการสินค้า น้ำมันหล่อลื่นและจารบี ยี่ห้อต่างๆ
dot
bulletสินค้า เชลล์ Shell
bulletสินค้า เชลล์ Shell Consumer สำหรับรถยนต์
bulletสินค้า โมบิล ExxonMobil
bulletสินค้า ปตท. PTT
bulletสินค้า ฟู้ดเกรด Food Grade ฟุคส์ Fuchs (เยอรมัน)
bulletสินค้า ฟุคส์ Fuchs
bulletสินค้า จารบี เทรน Trane
bulletสินค้า จารบี SKF
bulletสินค้า น้ำมันตัดกลึงโลหะ (เชลล์ เดิม) ฮาวท์ตัน Houghton MWF
bulletสินค้า โอมาก้า OMEGA และ อื่นๆ
dot
คู่มือ...เลือกใช้ผลิตภัณฑ์น้ำมันหล่อลื่นและจารบี
dot
bulletผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี เชลล์ Shell
bulletผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี ปตท. PTT สำหรับอุตสาหกรรม
bulletผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี ปตท. PTT สำหรับยานยนต์
bulletผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี โมบิล ExxonMobil
bulletผลิตภัณฑ์ จารบี SKF
bulletผลิตภัณฑ์ จารบี เทรน Trane
bulletผลิตภัณฑ์ โอเมก้า Omega
dot
มุมเทคนิค
dot
bulletรอบรู้เรื่องน้ำมันเครื่อง
bulletน้ำมันไฮดรอลิค
bulletความรู้เรื่อง จาระบีของ SKF
bullet40 พฤติกรรมช่วยประหยัดน้ำมัน
bulletปัจจัยกำหนดราคาน้ำมัน ในตลาดโลก
bulletการถ่ายน้ำมันเกียร์อัตโนมัติ
bulletน้ำมันเกียร์อุตสาหกรรม
bulletจาระบี (Grease)
bulletเรื่องของเกรดน้ำมันเครื่อง
bulletทำไมจึงเจาะจงน้ำมันเครื่องสูตรสังเคราะห์
bulletน้ำมันหล่อเย็น (Cutting Fluid)
bulletผลิตภัณฑ์หล่อลื่น กับ สิ่งแวดล้อม
bulletน้ำมันเกียร์
bulletการเสื่อมสภาพของน้ำมันหล่อลื่น
bulletไบโอดีเซล B 100 ทางเลือกใหม่ของคนไทย
bulletน้ำมันดิบ และ การกลั่น
bulletการสำรวจและขุดเจาะ
bulletการขจัดน้ำมันหล่อลื่นที่หมดอายุใช้งาน
bulletข้อควรปฏิบัติในการป้องกัน เครื่องจักรกล ไม่ให้เกิดการเสียหาย
bulletการพิจารณาเปลี่ยนน้ำมันใหม่
bulletตรวจสอบน้ำมันเทอร์ไบน์ขณะใช้งาน
bulletการเตรียมเครื่องเทอร์ไบน์
bulletน้ำมันหล่อลื่น เครื่องเทอร์ไบน์ไอน้ำ
bulletลักษณะการเย็นตัว ของ เหล็กชุบแข็ง ใน ของเหลว
bulletประเภทของงานในการชุบเหล็กด้วยน้ำมัน
bulletน้ำมันชุบเหล็ก
bulletการออกแบบระบบอุปกรณ์ถ่ายเทความร้อนและการใช้งาน
bulletจุดเดือด น้ำมันเบรค มีความสำคัญต่อประสิทธิภาพการ เบรค อย่างไร?
bulletความสำคัญ ของ ระยะเวลา เปลี่ยนถ่าย น้ำมันเครื่อง
bulletคอมเพรสเซอร์
bulletคุณสมบัติของ น้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์
bulletเครื่องยนต์ดีเซล
bulletเกียร์ (Gears)
bulletน้ำมันเครื่องสังเคราะห์สายพันธุ์ใหม่ เทคโนโลยียูเบส
bulletหน้าที่และคุณสมบัติของน้ำมันหม้อแปลงไฟฟ้า และสวิทช์เกียร์
bulletการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลอย่างสม่ำเสมอในขณะใช้งาน
bulletแรงเสียดทาน คืออะไร
bulletการหล่อลื่นเครื่องมือที่ขับเคลื่อนโดยกำลังดันลม
bulletอุปกรณ์ต่างๆในระบบเครื่องทำความเย็น
bulletการผสมตัวระหว่างน้ำมันหล่อลื่นกับน้ำยา
bulletจุดวาบไฟ (Flash Point) น้ำ (Water) สิ่งสกปรกที่เป็นของแข็ง (Sediment)
bulletการสึกหรอ (Wear)
bulletการวัดค่าความเป็นกรด (Total Acid Number - TAN)ในน้ำมันหล่อลื่นที่ใช้แล้ว
bulletแบริ่ง (Bearings)
bulletมาตรฐานน้ำมันเบรค
bulletน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์
bulletมาทำความรู้จัก กับ พลังงานน้ำมัน...พลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
bulletPTT Lubricants รุกคืบธุรกิจเรือเดินสมุทร




น้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์

น้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์

               เครื่องยนต์ลูกสูบที่ใช้อยู่ในยานพาหนะทั่วไปสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ เครื่องยนต์สันดาปด้วยหัวเทียน (เครื่องยนต์เบนซิน) และเครื่องยนต์สันดาปจากแรงอัด (เครื่องยนต์ดีเซล)  เครื่องยนต์ดีเซลปัจจุบันเป็นที่นิยมใช้แพร่หลายในกิจกรรมการขนส่งทั่วไป เนื่องจากมีความประหยัดสูงและง่ายในการบำรุงรักษา ส่วนเครื่องยนต์เบนซินซึ่งมีขนาดเล็กให้พลังงานสูงกว่าเป็นที่นิยมในรถยนต์ส่วนบุคคลทั่วไป

                 เครื่องยนต์แก๊ซโซลีน

                 เครื่องยนต์แก๊ซโซลีนในปัจจุบันอาจแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทคือ เครื่องยนต์ 2 จังหวะ และ 4 จังหวะ ในขณะที่เครื่องยนต์แก๊ซโซลีน 4 จังหวะเป็นที่นิยมใช้ในรถยนต์นั่งทั่วไป รถยนต์ขนส่งขนาดเล็กและรถมอเตอร์ไซด์ขนาดใหญ่บางรุ่น เครื่องยนต์แก๊ซโซลีน 2 จังหวะจะนิยมใช้ในเครื่องยนต์มอเตอร์ไซด์ขนาดกลางและขนาดเล็กทั่วไป

                 ระบบหล่อลื่นเครื่องยนต์แก๊ซโซลีน

                 ในเครื่องยนต์ 4 จังหวะทั่วไป น้ำมันหล่อลื่นจะพักอยู่ในอ่างน้ำมันเครื่องบริเวณส่วนล่างของเครื่องยนต์ อาทิ เมนแบริ่ง แบริ่งก้านสูบ แบริ่งข้อเหวี่ยง แคมชาร์ฟ และชุดเปิดปิดวาวล์ ในขณะที่ส่วนของผิวกระบอกสูบและแหวนลูกสูบจะถูกหล่อลื่นโดยน้ำมันเครื่องที่ถูกฉีดผ่านจากเมนแบริ่งและแบริ่งก้านสูบ ก่อนที่จะไหลกลับมายังอ่างน้ำมันเพื่อไหววนต่อไป

                  ในส่วนของเครื่องยนต์ 2 จังหวะในขณะที่เครื่องยนต์ขนาดใหญ่จะนิยมใช้ระบบหมุนเวียนโดยที่น้ำมันจะถูกปั๊มไปหล่อลื่นแบริ่งและผิวกระบอกสูบเครื่องยนต์ 2 จังหวะขนาดเล็กจะนิยมผสมน้ำมันหล่อลื่นเข้ากับน้ำมันเชื้อเพลิงเพื่อหล่อลื่นและเชื้อเพลิงที่ผสมตามอัตราส่วนที่กำหนดจะไหลผ่านคาร์บูเรเตอร์ไปพักในห้องข้อเหวี่ยง ในจังหวะอัดน้ำมันหล่อลื่นที่หนักกว่าน้ำมันเชื้อเพลิงจะไปเกาะอยู่ที่ผิวของแบริ่งข้อเหวี่ยงและผนังกระบอกสูบเพื่อหล่อลื่น และจะไหลไปเผาไหม้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิงต่อไป

 

คุณสมบัติของน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์

                       เมื่อสมัยสี่สิบปีก่อน น้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์เกือบจะเป็นเพียงน้ำมันแร่ธรรมดาไม่ได้ผสมสารเพิ่มคุณภาพ หรืออาจผสมเพียงสารป้องกันปฏิกิริยาอ็อคซิเดชั่นเพื่อช่วยยืดอายุการใช้งานของน้ำมันหล่อลื่นเท่านั้น เครื่องยนต์ในสมัยนั้นต้องยกเครื่องใหม่เพื่อเปลี่ยนแปลงชิ้นส่วนที่สึกหรอเนื่องจากคราบเขม่าสะสมหลังจากการใช้งานเพียงประมาณ 45,000 กิโลเมตร ในขณะที่ผู้ใช้รถยนต์เปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องทุกๆ 1,600 กิโลเมตรหรือน้อยกว่านั้น

                  ในปัจจุบันเครื่องยนต์ส่วนใหญ่จะมีอายุประมาณ 150,000 กิโลเมตรก่อนยกเครื่องเพื่อเปลี่ยนชิ้นส่วนที่สึกหรอ ในขณะที่ระยะเวลาการเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องยืดออกไปถึง 5,000 - 8,000 กิโลเมตร เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเป็นผลจากการพัฒนาร่วมระหว่างผู้ผลิตเครื่องยนต์และผู้ผลิตน้ำมันหล่อลื่น น้ำมันหล่อลื่นในปัจจุบันได้ถูกพัฒนาขึ้นโดยผสมสารเพิ่มคุณภาพซึ่งได้จากสารสังเคราะห์หลายชนิดเพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานในสภาพปัจจุบัน

                   น้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์แก๊ซโซลีนในปัจจุบันต้องทำหน้าที่หล่อลื่นชิ้นส่วนเคลื่อนไหวทุกชิ้นเพื่อป้องกันการสึกหรอ ลดแรงเสียดทาน และเพิ่มประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ นอกจากนี้น้ำมันหล่อลื่นยังต้องทำหน้าที่เป็นซีลเพื่อรักษากำลังอัดในกระบอกสูบและระบายความร้อนอีกด้วย หน้าที่หลักที่สำคัญอีกประการหนึ่งของน้ำมันเครื่องคือ ต้องรักษาและป้องกันเครื่องยนต์จากของเสียที่ได้จากการเผาไหม้ เช่น เขม่า และกรดกำมะถัน น้ำมันเครื่องที่ดีจะต้องช่วย ชะล้างและกระจายคราบเขม่าในเครื่องยนต์และจะต้องมีคุณสมบัติเป็นด่างเพื่อทำปฏิกิริยากับกรดกำมะถันที่ได้จากการเผาไหม้ เพื่อป้องกันการกัดกร่อนและสนิม

             คุณสมบัติที่สำคัญเพื่อที่จะทำหน้าที่ข้างต้นคือ

  1. น้ำมันเครื่องจะต้องมีความหนืดถูกต้อง
  2. น้ำมันเครื่องจะต้องไม่เสื่อมสภาพเร็วเกินไป
  3. น้ำมันเครื่องต้องสามารถปกป้องเครื่องยนต์ได้ในทุกสภาวะการทำงาน

 

Download

 

 

 

 

 

 

Siam Global Lubricant Co.,Ltd.

13,15 ซอยเจริญกรุง 3 ถนนเจริญกรุง แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์ : 0-2622-1700-3 โทรสาร : 0-2622-1704

E-mail  : sales@sgl1.com  facebook : https://www.facebook.com/SiamGlobalLubricant

เวลาทำการ : วันจันทร์-เสาร์ 8.30-17.30 น.หยุดวันอาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์

นอกเวลาทำการ : ติดต่อสายด่วน 089-6612991

 

 

 







Copyright © 2010 All Rights Reserved.
 

บริษัท เอส.จี.แอล.มาร์เก็ตติ้ง จำกัด

105/400-401 หมู่4 ถ.ราชพฤกษ์ ตำบลบางกร่าง อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

โทร. 098-9192463 , 089-6612991 โทรสาร. 02-4032564

E-mail address : sgl1.sales@gmail.com

Line ID : SGL1