ReadyPlanet.com
dot dot
dot
หน้าหลัก
dot
bulletหน้าหลัก
dot
E-magazine สารพันเรื่องราวน้ำมันหล่อลื่น
dot
bulletชุดที่ 1 ฉบับที่ 1-10
bulletชุดที่ 2 ฉบับที่ 11-20
bulletชุดที่ 3 ฉบับที่ 21-30
bulletชุดที่ 4 ฉบับที่ 31-39
dot
รายการสินค้า น้ำมันหล่อลื่นและจารบี ยี่ห้อต่างๆ
dot
bulletสินค้า เชลล์ Shell
bulletสินค้า เชลล์ Shell Consumer สำหรับรถยนต์
bulletสินค้า โมบิล ExxonMobil
bulletสินค้า ปตท. PTT
bulletสินค้า ฟู้ดเกรด Food Grade ฟุคส์ Fuchs (เยอรมัน)
bulletสินค้า ฟุคส์ Fuchs
bulletสินค้า จารบี เทรน Trane
bulletสินค้า จารบี SKF
bulletสินค้า น้ำมันตัดกลึงโลหะ (เชลล์ เดิม) ฮาวท์ตัน Houghton MWF
bulletสินค้า โอมาก้า OMEGA และ อื่นๆ
dot
คู่มือ...เลือกใช้ผลิตภัณฑ์น้ำมันหล่อลื่นและจารบี
dot
bulletผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี เชลล์ Shell
bulletผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี ปตท. PTT สำหรับอุตสาหกรรม
bulletผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี ปตท. PTT สำหรับยานยนต์
bulletผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี โมบิล ExxonMobil
bulletผลิตภัณฑ์ จารบี SKF
bulletผลิตภัณฑ์ จารบี เทรน Trane
bulletผลิตภัณฑ์ โอเมก้า Omega
dot
มุมเทคนิค
dot
bulletรอบรู้เรื่องน้ำมันเครื่อง
bulletน้ำมันไฮดรอลิค
bulletความรู้เรื่อง จาระบีของ SKF
bullet40 พฤติกรรมช่วยประหยัดน้ำมัน
bulletปัจจัยกำหนดราคาน้ำมัน ในตลาดโลก
bulletการถ่ายน้ำมันเกียร์อัตโนมัติ
bulletน้ำมันเกียร์อุตสาหกรรม
bulletจาระบี (Grease)
bulletเรื่องของเกรดน้ำมันเครื่อง
bulletทำไมจึงเจาะจงน้ำมันเครื่องสูตรสังเคราะห์
bulletน้ำมันหล่อเย็น (Cutting Fluid)
bulletผลิตภัณฑ์หล่อลื่น กับ สิ่งแวดล้อม
bulletน้ำมันเกียร์
bulletการเสื่อมสภาพของน้ำมันหล่อลื่น
bulletไบโอดีเซล B 100 ทางเลือกใหม่ของคนไทย
bulletน้ำมันดิบ และ การกลั่น
bulletการสำรวจและขุดเจาะ
bulletการขจัดน้ำมันหล่อลื่นที่หมดอายุใช้งาน
bulletข้อควรปฏิบัติในการป้องกัน เครื่องจักรกล ไม่ให้เกิดการเสียหาย
bulletการพิจารณาเปลี่ยนน้ำมันใหม่
bulletตรวจสอบน้ำมันเทอร์ไบน์ขณะใช้งาน
bulletการเตรียมเครื่องเทอร์ไบน์
bulletน้ำมันหล่อลื่น เครื่องเทอร์ไบน์ไอน้ำ
bulletลักษณะการเย็นตัว ของ เหล็กชุบแข็ง ใน ของเหลว
bulletประเภทของงานในการชุบเหล็กด้วยน้ำมัน
bulletน้ำมันชุบเหล็ก
bulletการออกแบบระบบอุปกรณ์ถ่ายเทความร้อนและการใช้งาน
bulletจุดเดือด น้ำมันเบรค มีความสำคัญต่อประสิทธิภาพการ เบรค อย่างไร?
bulletความสำคัญ ของ ระยะเวลา เปลี่ยนถ่าย น้ำมันเครื่อง
bulletคอมเพรสเซอร์
bulletคุณสมบัติของ น้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์
bulletเครื่องยนต์ดีเซล
bulletเกียร์ (Gears)
bulletน้ำมันเครื่องสังเคราะห์สายพันธุ์ใหม่ เทคโนโลยียูเบส
bulletหน้าที่และคุณสมบัติของน้ำมันหม้อแปลงไฟฟ้า และสวิทช์เกียร์
bulletการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลอย่างสม่ำเสมอในขณะใช้งาน
bulletแรงเสียดทาน คืออะไร
bulletการหล่อลื่นเครื่องมือที่ขับเคลื่อนโดยกำลังดันลม
bulletอุปกรณ์ต่างๆในระบบเครื่องทำความเย็น
bulletการผสมตัวระหว่างน้ำมันหล่อลื่นกับน้ำยา
bulletจุดวาบไฟ (Flash Point) น้ำ (Water) สิ่งสกปรกที่เป็นของแข็ง (Sediment)
bulletการสึกหรอ (Wear)
bulletการวัดค่าความเป็นกรด (Total Acid Number - TAN)ในน้ำมันหล่อลื่นที่ใช้แล้ว
bulletแบริ่ง (Bearings)
bulletมาตรฐานน้ำมันเบรค
bulletน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์
bulletมาทำความรู้จัก กับ พลังงานน้ำมัน...พลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
bulletPTT Lubricants รุกคืบธุรกิจเรือเดินสมุทร




น้ำมันเกียร์อุตสาหกรรม

 น้ำมันเกียร์อุตสาหกรรม article

 

 

หน้าที่ :

1.ป้องกันการสึกหรอของชุดเกียร์         

                         ในขณะที่ขบกันจะเกิดแรงกระทำที่หน้าสัมผัสของฟันเกียร์ทั้งแนวตั้งฉากและด้านข้าง การเสียดสีย่อมเกิดการสึกหรอและเสียหายได้ น้ำมันเกียร์ที่ใช้จะต้องมีฟิล์มที่แข็งแกร่ง และสารรับแรงกดที่ทำหน้าที่ลดแรงเสียดทานและป้องกันการเสียดสีระหว่างผิวสัมผัสของเกียร์เพื่อป้องกันการส฿กหรอตลอดสภาวะการทำงาน

2. ระบายความร้อน

       ในการหล่อลื่นชุดเกียร์พบว่ามีปริมาณน้ำมันเพียง2% ของน้ำมันในอ่างทั้งหมดที่ทำหน้าที่หล่อลื่นระหว่างฟันเกียร์ ส่วน 98% ที่เหลือทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการระบายความร้อน ในแต่ละครั้งที่ฟันเกียร์ขบกันแรงกดระหว่างฟันเกียร์จะทำให้เกิดความร้อนสะสมจนถึงจุดหนึ่งที่อุณหภูมิของของชุดเกียร์คงที่นั้นคือจุดที่ความร้อนที่เกิดจากการเสียดสีที่เกิดขึ้นเท่ากับความร้อนที่น้ำมันระบายให้กับอากาศหรือระบบหล่อเย็น ในกรณีที่น้ำมันเกียร์ไม่สามารถถ่ายเทความร้อนจากชุดเกียร์ไปยังระบบหล่อเย็นได้ จะทำให้อุณหภูมิของชุดเกียร์สูงกว่าปกติ

3.ป้องกันสนิมและกำจัดสิ่งสกปรกออกจากระบบ

          น้ำมันเกียร์ช่วยป้องกันสนิมโดยทำหน้าที่เคลือบผิวโลหะเพื่อป้องกันไมให้อากาศและน้ำมีโอกาศทำปฏิกิริยากับโลหะในขนาดเดียวกันน้ำหรือสารแปลกปลอมอื่นๆ เช่นเศษโลหะ หรือฝุ่นละอองจะถูกแขวนลอยในน้ำมันเกียร์ และกำจัดออกจากระบบโดยไส้กรองหรือเกิดการแยกตัวในอ่างน้ำมัน

 

       การเลือกใช้น้ำมันเกียร์ที่ถูกต้องช่วยให้การทำงานของเกียร์สม่ำเสมอและได้ประสิทธิภาพสูงสุด การใช้น้ำมันเกียร์ไม่ถูกต้อง หรือคุณภาพต่ำจะทำให้เกียร์เกิดการสึกหรอ สั่น มีเสียงดัง สูญเสียกำลัง หรือเกิดความเสียหายในที่สุด

มีหลายปัจจัยที่ใช้พิจารณาก่อนการตัดสินใจเลือกใช้น้ำมันเกียร์

     -    อุณหภูมิเริ่มต้นก่อนการทำงานจนถึงอุณหภูมิสูงสุดที่เกียร์ทำงาน

     -    ชนิดของเกียร์ เช่น เฟืองไฮปอยด์ เฟืองเดือยหมู หรือ เฟืองดอกจอก

     -    วัสดุที่ใช้ทำเกียร์

     -    ลักษณะของโหลดที่กระทำกับชุดเกียร์ เช่น โหลดเป็นลักษณะต่อเนื่อง หรือเป็นจังหวะของรอบการทำงาน หรือลักษณะกระแทก (Shock Load)

  

 

น้ำมันเกียร์ที่ใช้ในปัจจุบัน สามารถแบ่งออกคราวๆได้ 3 ชนิด คือ

     1.  น้ำมันเกียร์สำหรับงานเบา เกียร์จะรับโหลดน้อยแต่ขณะเดียวกันความเร็วรอบจะสูง หน้าที่สำคัญของน้ำมันคือ ระบายความร้อน ดังนั้นจึงนิยมใช้น้ำมันที่ใสกว่าปกติ เช่นเบอร์ 68 หรือเบอร์100

     2.  น้ำมันเกียร์สำหรับงานปานกลางจนถึงหนัก เกียร์จะต้องทำงานที่ภายใต้แรงกดสูงซึ่งมีแนวโน้มที่จะสึกหรอได้ง่าย น้ำมันที่ใช้จะต้องมีสารรองรับแรงกดสูง(EP) เพื่อช่วยในการหล่อลื่น และป้องกันการสึกหรอที่อาจจะเกิดจากแรงกดหรือแรงสไลด์ หรือจากการกระแทก

     3.  น้ำมันเกียร์สังเคราะห์ ใช้หล่อลื่นชุดเกียร์ที่ต้องทำงานภายใต้สภาวะที่รุนแรงกว่าปกติ เนื่องจากน้ำมันแร่ธรรมดาไม่สามารถรองรับการทำงานได้ โดยทั่วไปน้ำมันสังเคราะห์จะเหมาะกับชุดเกียร์ที่ต้องรองรับโหลดสูงเป็นพิเศษ หรืออุณหภูมิสูงกว่าปกติ หรือเพื่อเพิ่มอายุการใช้งานของน้ำมันให้ยาวนานขึ้น (Full for life)

น้ำมันสังเคราะห์ที่นำมาผลิตเป็นน้ำมันเกียร์ส่วนใหญ่จะเป็นสาร PolyalkyleneGlycoleหรือเรียกสั้นๆว่า PAG เนื่องจากมีลักษณะโดเด่นเหนือกว่าน้ำมันสังเคราะห์ชนิดอื่นๆ

     -   การหล่อลื่น(Lubricity) PAG มีฟิมล์น้ำมันที่แข็งแกร่งไม่สลายตัว เมื่อได้รับความร้อน หรือโหลด ช่วยให้หล่อลื่นเกียร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

     -   ค่าดัชนีความหนสูง (Extra High viscosity Index) PAGมี ค่าVI สูงกว่า200 เมื่อเทียบกับน้ำมันแร่ที่มีค่า VI 100 หรือน้ำมันสังเคราะห์อื่นๆ เช่น PAO ที่มี ค่า VI น้อยกว่า 150 ค่าดัชนีความหนืดที่สูงช่วยให้น้ำมันสามารถรักษาความหนืดได้คงที่ตลอดช่วงอุณหภูมิการใช้งาน และฟิมล์น้ำมันยังคงมีความหนาพอที่จะแยกผิวสัมผัสของเกียร์ออกจากกันแม้ทำงานภายใต้สภาวะความร้อนสูง

     -   ความคงตัวสูง (Thermal & Oxidation stability) PAG ทนต่อความร้อนและต้านทานการเกิดปฏิกิริยาออกซเดชั่นได้อย่างดีเยี่ยมทำให้อายุการใช้งานนานกว่า

 

     สารที่เกิดจากการเสื่อมสภาพของPAG จะเปลี่ยนเป็นสารประกอบที่ละลายในตัวมันองได้ ดังนั้นการใช้ PAG เป็นน้ำมันเกียร์จะช่วยให้ชุดเกียร์สะอาด และช่วยระบายความร้อนได้ดียิ่ง เนื่องจากการเสื่อมสภาพของ PAG ไม่ทิ้งคราบเขม่าหรือคราบยางเหนียวในระบบ ผิดกับน้ำมันสังเคราะห์บางชนิดที่เมือเกิดการเสื่อมสภาพสารประกอบที่เกิดขึ้นจะไม่ละลายในตัวมันเองและจะแยกตัวออกมา ทำให้มีคราบเขม่าหรือคราบยางเหนียวในระบบ

 

Download

 

 

Siam Global Lubricant Co.,Ltd.

13,15 ซอยเจริญกรุง 3 ถนนเจริญกรุง แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์ : 0-2622-1700-3 โทรสาร : 0-2622-1704

E-mail  : sales@sgl1.com  facebook : https://www.facebook.com/SiamGlobalLubricant

เวลาทำการ : วันจันทร์-เสาร์ 8.00-17.00 น.หยุดวันอาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์

นอกเวลาทำการ : ติดต่อสายด่วน 089-6612991







Copyright © 2010 All Rights Reserved.
 

บริษัท เอส.จี.แอล.มาร์เก็ตติ้ง จำกัด

105/400-401 หมู่4 ถ.ราชพฤกษ์ ตำบลบางกร่าง อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

โทร. 098-9192463 , 089-6612991 โทรสาร. 02-4032564

E-mail address : sgl1.sales@gmail.com

Line ID : SGL1