ReadyPlanet.com
dot dot
dot
หน้าหลัก
dot
bulletหน้าหลัก
dot
E-magazine สารพันเรื่องราวน้ำมันหล่อลื่น
dot
bulletชุดที่ 1 ฉบับที่ 1-10
bulletชุดที่ 2 ฉบับที่ 11-20
bulletชุดที่ 3 ฉบับที่ 21-30
bulletชุดที่ 4 ฉบับที่ 31-39
dot
รายการสินค้า น้ำมันหล่อลื่นและจารบี ยี่ห้อต่างๆ
dot
bulletสินค้า เชลล์ Shell
bulletสินค้า เชลล์ Shell Consumer สำหรับรถยนต์
bulletสินค้า โมบิล ExxonMobil
bulletสินค้า ปตท. PTT
bulletสินค้า ฟู้ดเกรด Food Grade ฟุคส์ Fuchs (เยอรมัน)
bulletสินค้า ฟุคส์ Fuchs
bulletสินค้า จารบี เทรน Trane
bulletสินค้า จารบี SKF
bulletสินค้า น้ำมันตัดกลึงโลหะ (เชลล์ เดิม) ฮาวท์ตัน Houghton MWF
bulletสินค้า โอมาก้า OMEGA และ อื่นๆ
dot
คู่มือ...เลือกใช้ผลิตภัณฑ์น้ำมันหล่อลื่นและจารบี
dot
bulletผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี เชลล์ Shell
bulletผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี ปตท. PTT สำหรับอุตสาหกรรม
bulletผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี ปตท. PTT สำหรับยานยนต์
bulletผลิตภัณฑ์ น้ำมันหล่อลื่น และ จารบี โมบิล ExxonMobil
bulletผลิตภัณฑ์ จารบี SKF
bulletผลิตภัณฑ์ จารบี เทรน Trane
bulletผลิตภัณฑ์ โอเมก้า Omega
dot
มุมเทคนิค
dot
bulletรอบรู้เรื่องน้ำมันเครื่อง
bulletน้ำมันไฮดรอลิค
bulletความรู้เรื่อง จาระบีของ SKF
bullet40 พฤติกรรมช่วยประหยัดน้ำมัน
bulletปัจจัยกำหนดราคาน้ำมัน ในตลาดโลก
bulletการถ่ายน้ำมันเกียร์อัตโนมัติ
bulletน้ำมันเกียร์อุตสาหกรรม
bulletจาระบี (Grease)
bulletเรื่องของเกรดน้ำมันเครื่อง
bulletทำไมจึงเจาะจงน้ำมันเครื่องสูตรสังเคราะห์
bulletน้ำมันหล่อเย็น (Cutting Fluid)
bulletผลิตภัณฑ์หล่อลื่น กับ สิ่งแวดล้อม
bulletน้ำมันเกียร์
bulletการเสื่อมสภาพของน้ำมันหล่อลื่น
bulletไบโอดีเซล B 100 ทางเลือกใหม่ของคนไทย
bulletน้ำมันดิบ และ การกลั่น
bulletการสำรวจและขุดเจาะ
bulletการขจัดน้ำมันหล่อลื่นที่หมดอายุใช้งาน
bulletข้อควรปฏิบัติในการป้องกัน เครื่องจักรกล ไม่ให้เกิดการเสียหาย
bulletการพิจารณาเปลี่ยนน้ำมันใหม่
bulletตรวจสอบน้ำมันเทอร์ไบน์ขณะใช้งาน
bulletการเตรียมเครื่องเทอร์ไบน์
bulletน้ำมันหล่อลื่น เครื่องเทอร์ไบน์ไอน้ำ
bulletลักษณะการเย็นตัว ของ เหล็กชุบแข็ง ใน ของเหลว
bulletประเภทของงานในการชุบเหล็กด้วยน้ำมัน
bulletน้ำมันชุบเหล็ก
bulletการออกแบบระบบอุปกรณ์ถ่ายเทความร้อนและการใช้งาน
bulletจุดเดือด น้ำมันเบรค มีความสำคัญต่อประสิทธิภาพการ เบรค อย่างไร?
bulletความสำคัญ ของ ระยะเวลา เปลี่ยนถ่าย น้ำมันเครื่อง
bulletคอมเพรสเซอร์
bulletคุณสมบัติของ น้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์
bulletเครื่องยนต์ดีเซล
bulletเกียร์ (Gears)
bulletน้ำมันเครื่องสังเคราะห์สายพันธุ์ใหม่ เทคโนโลยียูเบส
bulletหน้าที่และคุณสมบัติของน้ำมันหม้อแปลงไฟฟ้า และสวิทช์เกียร์
bulletการบำรุงรักษาเครื่องจักรกลอย่างสม่ำเสมอในขณะใช้งาน
bulletแรงเสียดทาน คืออะไร
bulletการหล่อลื่นเครื่องมือที่ขับเคลื่อนโดยกำลังดันลม
bulletอุปกรณ์ต่างๆในระบบเครื่องทำความเย็น
bulletการผสมตัวระหว่างน้ำมันหล่อลื่นกับน้ำยา
bulletจุดวาบไฟ (Flash Point) น้ำ (Water) สิ่งสกปรกที่เป็นของแข็ง (Sediment)
bulletการสึกหรอ (Wear)
bulletการวัดค่าความเป็นกรด (Total Acid Number - TAN)ในน้ำมันหล่อลื่นที่ใช้แล้ว
bulletแบริ่ง (Bearings)
bulletมาตรฐานน้ำมันเบรค
bulletน้ำมันหล่อลื่นเครื่องยนต์
bulletมาทำความรู้จัก กับ พลังงานน้ำมัน...พลังขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
bulletPTT Lubricants รุกคืบธุรกิจเรือเดินสมุทร




การสึกหรอ (Wear)

 

การสึกหรอ  (Wear)

        การสึกหรอ หมายถึงการต้องสูญเสียเนื้อสารจำนวนหนึ่งออกไปจากชิ้นวัตถุโดยไม่ปรารถนา สาเหตุของการสึกหลอมีหลายประการ และมักจะเกิดจากหลายสาเหตุพร้อม ๆ กัน การสึกหลอสามารถแบ่งได้ตามสาเหตุเป็น 4 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

            1. การสึกหรอแบบ Adhesive เกิดจากการที่ผิวโลหะมาเสียดสีกัน และยอดแหลมที่หลอมติดกันถูกกระแทกให้แตกหักอันเป็นขบวนการเกิดแรงเสียดทานนั่นเอง น้ำมันหล่อลื่นป้องกันและลดการสึกหรอประเภทนี้โดยการทำหน้าที่ลดการสัมผัสกันระหว่างหน้าสัมผัสได้ อันเป็นการลดแรงเสียดทานไปในตัว การสึกหลอประเภทนี้มักเกิดจากการหยุดและไปของผิวหน้าสัมผัสก่อนที่ฟิล์มน้ำมันจะเกิดขึ้นได้ หรือความล้มเหลวอื่น ๆ ของฟิล์มน้ำมันที่จะแยกหน้าสัมผัสออก

            2. การสึกหรอแบบ Abrasive เกิดจากการที่มีชิ้นส่วนของแข็งขนาดเล็กหลุดเข้าไปในบริเวณผิวสัมผัส และครูดไถไปบนผิวหน้าที่อาจจะอ่อนกว่าชิ้นส่วนของแข็งนี้อาจจะเป็นสิ่งแปลกปลอมจากภายนอก หรือเศษที่แตกหักมาจากการสึกหรอนั่นเอง ดังนั้นปัจจัยของการสึกหลอแบบ Abrasive คืออนุภาคของแข็งต้องมีขนาดใหญ่กว่าความหนาของฟิล์มน้ำมันและมีความแข็งกว่าผิวหน้าสัมผัส น้ำมันหล่อลื่นสามารถทำหน้าที่ชะล้างหรือพัดพาเอาอนุภาคของแข็งที่เป็นอันตรายต่อผิวหน้านี้ไปได้ เป็นการลดการสึกหรอโดยที่อุปกรณ์ของระบบหล่อลื่น เช่นชีลและไส้กรอง มีส่วนสัมพันธ์กับหน้าที่นี้มาก

            3. การสึกกร่อน ( Corrosive ) หมายถึงการที่เนื้อสารถูกสารอื่นเข้ากรัดกร่อนทำปฏิกิริยาเคมี เช่น จากในบรรยากาศทั่ว ๆ ไป จากสารที่เกิดจากน้ำมันหล่อลื่นที่เสื่อมสภาพกลายเป็นกรด หรือจากไอกรดกำมะถันจากน้ำมันเชื้อเพลิงที่ใช้เผาไหม้และอื่น ๆ น้ำมันหล่อลื่นช่วยลดการสึกกร่อนได้ 2 วิธี คือ การทำตัวเป็นฟิล์มเคลือบผิวหน้าป้องกันไม่ให้เกิดปฏิกิริยากับอ็อคซิเจน และการที่น้ำมันหล่อลื่นมีสารเคมีที่จะหยุดยั้งหรือชิงเข้าทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นอันตรายนั้นเสียก่อน

           4. Fatique Wear เกิดจากความเสียหายภายใต้ผิวหน้าอันเป็นผลมาจากการที่ผิวหน้าถูกแรงกระทำซ้ำๆ กันเป็นเวลานาน และเกิดการล้าของเนื้อสารนั้น อาการที่พบได้มักจะเป็นรู หรือการแตกที่เกิดโดยฉับพลัน ไม่สามารถคาดการณ์ได้ สำหรับการสึกหลอประเภทนี้ยังไม่สามารถชี้ชัดถึงความสามารถของน้ำมันหล่อลื่นว่ามีส่วนช่วยลดหรือป้องกันได้ประการใด

           หลักการของน้ำมันหล่อลื่นในการลดแรงเสียดทานและการสึกหรอจะเป็นความรู้เบื้องต้นสำหรับการออกแบบ การเลือกใช้ และความสามารถในการใช้งานจริงของน้ำมันหล่อลื่น โดยที่ควรตระหนักว่าน้ำมันหล่อลื่นยังมีหน้าที่อื่น ๆ อีก และบางครั้งอาจจะสำคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่าหน้าที่หลัก 2 ประการนี้ก็ได้เช่น ในงานตัดโลหะ การระบายความร้อนอาจเป็นหน้าที่ที่สำคัญที่สุด

 
 
 
 
 
 
 
 

Siam Global Lubricant Co.,Ltd.

13,15 ซอยเจริญกรุง 3 ถนนเจริญกรุง แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทรศัพท์ : 0-2622-1700-3 โทรสาร : 0-2622-1704

E-mail  : sales@sgl1.com  facebook : https://www.facebook.com/SiamGlobalLubricant

เวลาทำการ : วันจันทร์-เสาร์ 8.30-17.30 น.หยุดวันอาทิตย์และวันหยุดนักขัตฤกษ์

นอกเวลาทำการ : ติดต่อสายด่วน 089-6612991

 







Copyright © 2010 All Rights Reserved.
 

บริษัท เอส.จี.แอล.มาร์เก็ตติ้ง จำกัด

105/400-401 หมู่4 ถ.ราชพฤกษ์ ตำบลบางกร่าง อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

โทร. 098-9192463 , 089-6612991 โทรสาร. 02-4032564

E-mail address : sgl1.sales@gmail.com

Line ID : SGL1